วันพฤหัสบดีที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2553

หน้าเว็บ






เต็มหน้าจอ 800*600











แนวนอน










แนวตั้ง


3.1 ส่วนหัว = เว็บไซต์ Onetocar มีโล้โก้ประจำตัวที่เด่นชัดที่มุมซ้าย มีชื่อเว็บไซต์ด้านล่างโลโก้ , มีระบบนำทางแบบ drop-down , มี Banner โฆษณาอยู่ด้านบนสุด

3.2 ส่วนเนื้อหา = เว็บไซ OneToCar มีเนื้อหาอยู่ช่วงกลางเว็บไซต์มีการจัดวางตัวหนังมีตัวอักษร hypertext , มีภาพประกอบรถยนต์ต่างๆ , มีเนื้อหาอัพเดทเกี่ย่วกับรถยนต์

3.3 ส่วนท้าย = มีข้อมูลเพิ่มเติมอยู่ด้านท้ายเป็นตัวอักษร hypertext , มีข้อมูลลิขสิทธิ์, มีการติดต่อผู้ดูแลเว็บไซต์ที่ด้านล่างสุด

4. ตำแหน่งของเมนู = อยู๋ในช่วงด้านบน

5. ลักษณะของเมนู = เป้นเมนูแบบ Drop-Down

6.การแบ่งหมวดหมูของเมนู = ประเภทรถ , ตามราคา , ตามปีรถ

วันพุธที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2553

องค์ประกอบการออกแบบ(ELEMENT OF DESIGN)

องค์ประกอบการออกแบบ(ELEMENT OF DESIGN)
สีขั้นที่ 1 แดง น้ำเงิน เหลือง
สีขั้นที่ 2 ม่วง เขียว ส้ม เกิดจากการนำสีขั้นที่ 1 มาผสมกัน
สีขั้นที่ 3 แดงม่วง น้ำเงินม่วง คราม เขียวเหลือง แดงส้ม เหลืองส้ม เกิดจากการนำสีขั้นที่ 1 ผสมกับขั้นที่ 2




การผสมสี
การผสมสีแบบบวก (Additive Color Mixing)เป็นการผสมสีของ "แสง" ซึ่งอาจเข้าใจยากสักหน่อย เพราะแตกต่างจากความคุ้นเคยที่เราเคยรู้กันมา แสงสีขาวที่เห็นทั่วไปนั่นประกอบดวยแสงที่มีความยาวคลื่นต่าง ๆ กันซ้อนทับรวมตัวกันเกิดเป็นสีสันต่าง ๆจึงเรียกว่า "สีแบบบวก"โดยมีแม่สีพื้นฐานคือ สีแดง สีเขียว และสีน้ำเงิน (Red Green and Blue) เมื่อสามสีนี้ผสมกันจะได้สีขาว (สังเกต ว่าจะต่างจากที่เคยเรียนมาตอนเด็ก ๆ ที่มีแม่สีคือ สีแดง เหลือง น้ำเงิน ผสมกันได้สีดำ) หลักการนี้นำไปใช้กับการมองเห็นสีที่เกิดจากการผสมกันของแสง เช่น จอมอนิเตอร์ จอโทรทัศน์ ที่เรียกว่า RGB Mode



การผสมสีแบบลบ (Subtractive Color Mixing) เป็นสีที่เกิดจากการดูดกลืนแสงสะท้อนจากวัตถุ คือเมื่อมีลำแสงสีขาวตกกระทบวัตถุสีต่าง ๆคลื่นแสงบางส่วนจะถูกดูดกลืนไว้ และสะท้อนเพียงบางสีออกมา จึงเป็นที่มาของชื่อ "สีแบบลบ" มีแม่สีคือ สีฟ้าแกมเขีว (Cyan) สีม่วงแดง (Magenta) และสีเหลือง (Yellow) เมื่อสามสีผสมกันจะเป็นสีดำเพราะแสงถูกดูดกลืนไว้หมด ไม่สีแสงสะท้อนมาเข้าตา จึงไม่เกิดสีอะ ตาจึงเห็นเป็นสึดำ หลักการนี้ได้นำไปใช้กับการผสมสี เพื่อใช้ในการพิมพ์ โดยใช้แม่สี แต่เพิ่มสีดำขึ้นมาอีกสีหนึ่งผสมกันเป็นโทนต่าง ๆ ด้วยใช้เม็ดสกรีน ทำให้ได้ภาพสีสันสมจริง ดังนั้น หากต้องทำงานเกี่ยวกับสิ่งพิมพ์ ต้องเตรียมภาพด้วยระบบสีนี้ ในโปรแกรมเรียกว่า CMYK Mode





องค์ประกอบของสีในงานออกแบบนั้น มีคุณสมบัติอยู่ 3 ประการคือ
1. สี,เนี้อสี (Hue)
2. น้ำหนักสี (Value / Brightness)
3. ความสดของสี (Intensity / Saturation)

สี,เนื้อสี (Hue)เนื้อสี หรือ Hue คือความแตกต่างของสีบริสุทธิ์แต่ละสี ซึ่งเราจะเรียกเป็นชื่อสี เช่น สีแดง สีน้ำตาล สีม่วง เป็นต้น โดยแบ่งเนื้อสีออกเป็น 2 ชนิด
1. สีของแสง (Coloured Light)
สีของแสง คือความแตกต่างสั้นยาวของคลื่นแสงที่เรามองเห็น เริ่มจากสีม่วงไปสีแดง(เหมือนรุ่งกินน้ำที่เรามองเห็นหลังฝนตก)
2. สีของสาร (Coloured Pigment)
สีของสาร คือสีที่เรามองเห็นบนวัตถุต่าง ๆ ซึ่งเกิดจากการดูดซืมและสะท้อนของความยาวคลื่นแสง จากการที่เรามองเห็นสีของสารต่าง ๆ นี่เองจึงค้นพบว่ามีสีอยู่ 3 สี ที่เป็นต้นกำเนิดของสีอื่น ๆ ที่ไม่สามารถสร้างหรือผสมให้เกิดจากสีอื่นได้ หรือที่เรียกกันว่า " แม่สี " ได้แก่ แดง,เหลือง,น้ำเงิน



น้ำหนักสี (Value)จะว่าไปแล้วแน้ำสีก็คือเรื่องของความสว่างของสี หรือการเพิ่มขาว เติมดำลงในเนื้อสีที่เรามีอยู่และการปรับเปลี่ยนน้ำหนักสีนี่เองที่ทำให้ภาพดูมีมิติ ดูมีความลึก หรือที่เราเรียกวันว่า โทน Tone ซึ่งบางครั้งสร้างความน่าสนใจ ดึงดูดและความสมจริงให้กับงานที่เราออกแบบได้



ความสดของสี (Intensity/Saturation)ความสดของสีหรือบางคนอาจเรียกว่า ความอิ่มตัวของสี เป็นเรื่องสำคัญอีกเรื่องหนึ่งในการออกแบบ การใช้สีบางครั้งเราอาจจะต้องลดหรือเพิ่ม ความสดของสีใดสีหนึ่ง หรือ ทั้ง 2 สีเลยก็ได้ในกรณีลดความสดของสีก็เพื่อไม่ให้ภาพงานที่ออกมานั้นดูฉูดฉาดจนเกินไป ลดความสดของสีจะเรียกอีกอย่างว่า เป็นการเบรกสีก็ได้ ในการเบรกสีของงานศิลปะ ศิลปินมักจะใช้สีน้ำตาลซีเปียมาเติมลงในสีที่เขาต้องการเพื่อให้สีที่ได้ออกมามีเนื้อสีเดิมแต่ดูหม่นลง



หลักการเลือกสี(Color Combination)
1.MONOCHROMATIC
การใช้สีเดียว สร้างความแตกต่างด้วยระดับ ความมืด-สว่าง ของสี



2.COLOR COMBINATION
การใช้สี 3 สีจากคู่สีที่อยู่ตรงข้ามกัน ควรทดลองใช้หลายรูปแบบ เพื่อสร้างความแตกต่าง



3.ANALOGOUS
การใช้สีที่อยู่ใกล้เคียงกัน โดยเลือกจากสีที่อยู่ถัดไป อีก 2-3 สี สามารถสร้างความกลมกลืนได้ดี



4.COMPLEMENTARY
การใช้สีตรงข้ามกันอย่างสินเชิง สามารถช่วยเน้นความโดดเด่นได้ดี ควรใช้สีดำหรือเทา เพื่อลดความรุนแรงของสี นอกจากนั้นการใช้สี 2 สีที่แตกต่างกันมาก จะทำให้มีความสำคัญเท่ากัน ดังนั้นจึงควรลดความเข้มของสีหนึ่งลง




5.SPLIT-COMPREMENTS
การใช้สีแบบผสม เป็นการผสมผสานระหว่างสีโทนร้อนและโทนเย็น โดยเริ่มจากการเลือกสีใดสีหนึ่ง
และจับคู่กันอีก 2 สี ในโทนตรงกันข้าม ควรเพิ่มความสว่าง,ความเข้ม ขึ้นเพื่อความลดหลั่นกันของสี

วันพฤหัสบดีที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2553

Font

การใช้ตัวอักษร
TYPO + ความหมาย
"TYPOGRAPHY"
การใช้ตัวอักษรหรือการจัดวางตัวอักษร
"FONT(TYPEFACES)"
ชุดรูปทรางของตัวอักษร
"FONT FAMILIRS"

ตระกูลของชุดแบบตัวอักษร
ส่วนประกอบ
มีเชิง (serif)
ไม่มีเชิง (Sans serif)
ขนาด
หน่วย = points (72 point = 1 นิ้ว)
ตัวอักษรที่แตกต่างกัน มีขนาด point เท่ากันไม่จำเป็นต้องมีความสูงเท่ากัน
ประเภท
Sans Serif
Script Hand-lettered ลายมือเขียน
Monospace บล๊อกเท่าๆกัน(ดิจิตอล)
Novelty ประดับตกแต่ง
Dingbat


การผสมตัวอักษร
1. ตัวอักษรตัวหลัก - ตัวอักษรที่ไม่มีขาตัวหนาผสมกับตัวอักษรที่มีขาตัวบางตัวอักษรทั้ง 2 แบบมีความแตกต่าง
2. ตัวอักษรมีขาตัวหนาผสมกับตัวอักษรไม่มีขาตัวหนา
3.ตัวอักษรไม่มีขาผสมกับตัวอักษรมีขาการผสมอักษรแบบนี้ไม่มีจุดเด่น
4.ความแตกต่างอย่างชัดเจนของตัวอักษรแบบนี้เหมาะสำหรับคนที่มีการพัฒนาแนวความคิด
5.เช่นเดียวกันบการผสม่างอักษรสามารถสร้างความแตกต่างได้อย่างมากมาย
-ตัวอักษรแบบเป็นหลัก
-เลือกแบบฟ้อนต์รอง